หน้าเว็บ

วันอาทิตย์ที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2557

ตัวอย่างคำสั่งSQL


ตัวอย่างคำสั่งSQL

1.SQL BETWEEN 
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Tableโดยทำการเลือกเงื่อนไขที่อยู่ระหว่างค่าเริ่มต้นและค่าสิ้นสุด
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
SELECT Column1,Column2,Column3,... FROM [Table-Name] WHERE [Field] BETWEEN [Value-Start] AND [Value-End]
Table : customer
CustomerID
Name
Email
CountryCode
Budget
Used
C001
Win Weerachai
win.weerachai@thaicreate.com
TH
1000000
600000
C002
John Smith
john.smith@thaicreate.com
EN
2000000
800000
C003
Jame Born
jame.born@thaicreate.com
US
3000000
600000
C004
Chalee Angel
chalee.angel@thaicreate.com
US
4000000
100000

Sample1 การเลือกข้อมูลที่ Budget ที่มีค่าตั้งแต่ 1000000 - 3000000
SELECT * FROM customer WHERE Budget BETWEEN '1000000' AND '3000000'

2.SQL MYSQL IF 
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการเลือกข้อมูลโดยสร้างเงื่อนไข IF ในการเลือกข้อมูลต่าง ๆ
Database : MySQL
Syntax
SELECT IF search_condition 'true','false' AS Column 
Table : customer1
CustomerID
Name
Email
CountryCode
Budget
Used
C001
Win Weerachai
win.weerachai@thaicreate.com
TH
1000000
600000
C002
John Smith
john.smith@thaicreate.com
EN
2000000
800000
C003
Jame Born
jame.born@thaicreate.com
US
3000000
600000
C004
Chalee Angel
chalee.angel@thaicreate.com
US
4000000
100000

Sample1 แสดงสถานะของการใช้ยอดเงิน ในช่องของ Used ถ้าน้อยกว่า 200000 ให้แสดงคำว่า Low และมากกว่า 200000 ให้แสดงคำว่า Height
SELECT CustomerID,Name,Used,
IF(Used<=200000,'Low','Height') AS Status
FROM customer

Output
CustomerID
Name
Used
Status
C001
Win Weerachai
600000
Height
C002
John Smith
800000
Height
C003
Jame Born
600000
Height
C004
Chalee Angel
100000
Low


3. SQL UCASE , UPPER
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Tableโดยทำการแปลงตัวอักษรให้เป็นพิมพ์ใหญ่
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
SELECT UCASE(ColumnName) FROM table_name
Table : customer
CustomerID
Name
Email
CountryCode
Budget
Used
C001
Win Weerachai
win.weerachai@thaicreate.com
TH
1000000
600000
C002
John Smith
john.smith@thaicreate.com
EN
2000000
800000
C003
Jame Born
jame.born@thaicreate.com
US
3000000
600000
C004
Chalee Angel
chalee.angel@thaicreate.com
US
4000000
100000

Sample1 เลือกข้อมูล Column ชื่อ Name โดยแปลงให้เป็นตัวพิมพ์ใหญ่
SELECT UCASE(Name) As Name FROM customer
Output
Name
WIN WEERACHAI
JOHN SMITH
JAME BORN
CHALEE ANGEL


4. SQL SYSDATE()
เป็นคำสั่งที่ใช้ในอ่านวันที่ปันจุบันของ Oracle Database
Database : Oracle Database
Syntax
SELECT SYSDATE()
SELECT * FROM table WHERE Column = SYSDATE()
INSERT INTO table (Column1,Column2) VALUES ('Value1',SYSDATE())


5. SQL LENGTH
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Tableโดยทำการนับข้อความในตำแหน่งที่ต้องการ
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
SELECT LENGTH(Name) As MyLength FROM customer

Table : customer
CustomerID
Name
Email
CountryCode
Budget
Used
C001
Win Weerachai
win.weerachai@thaicreate.com
TH
1000000
600000
C002
John Smith
john.smith@thaicreate.com
EN
2000000
800000
C003
Jame Born
jame.born@thaicreate.com
US
3000000
600000
C004
Chalee Angel
chalee.angel@thaicreate.com
US
4000000
100000

Sample1 การเลือกข้อมูลโดยนับความยาวในฟิวด์ Name
SELECT LENGTH(Name) AS MyLength FROM customer




6. SQL GROUP BY  
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Tableโดยใช้หาผลรวมของคอลัมน์จากแถวใน Column ที่ระบุและทำการรวม Group ภายใต้ Column ที่อยู่หลัง GROUP BY
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
SELECT Column,SUM(Column) FROM [Table-Name] GROUP BY Column

Table : customer
CustomerID
Name
Email
CountryCode
Budget
Used
C001
Win Weerachai
win.weerachai@thaicreate.com
TH
1000000
600000
C002
John Smith
john.smith@thaicreate.com
EN
2000000
800000
C003
Jame Born
jame.born@thaicreate.com
US
3000000
600000
C004
Chalee Angel
chalee.angel@thaicreate.com
US
4000000
100000

Sample1 การเลือกข้อมูลผลรวมของ Budget โดยแบ่ง Group ตาม CountryCode
SELECT CountryCode,SUM(Budget) AS SumBudget FROM customer GROUP BY CountryCode
Output
CountryCode
SumBudget
EN
2000000
TH
1000000
US
7000000


  
7. SQL TOP 
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Tableที่สามารถกำหนดจำนวน Record ที่แสดงผลออกมาได้
Database : Microsoft Access,SQL Server
Syntax
SELECT TOP [Integer] Column1, Column2, Column3,... FROM [Table-Name] ORDER BY [Field] [ASC/DESC]

Table : customer
CustomerID
Name
Email
CountryCode
Budget
Used
C001
Win Weerachai
win.weerachai@thaicreate.com
TH
1000000
600000
C002
John Smith
john.smith@thaicreate.com
EN
2000000
800000
C003
Jame Born
jame.born@thaicreate.com
US
3000000
600000
C004
Chalee Angel
chalee.angel@thaicreate.com
US
4000000
100000

Sample1 การเลือกข้อมูลที่จำนวน Budget มากที่สุดออกมา 2 Record
SELECT TOP 2 * FROM customer ORDER BY Budget DESC
Output
CustomerID
Name
Email
CountryCode
Budget
Used
C004
Chalee Angel
chalee.angel@thaicreate.com
US
4000000
100000
C003
Jame Born
jame.smith@thaicreate.com
US
3000000
600000


8. SQL TRIM
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Tableโดยทำการตัดช่องว่างของข้อความ
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
TRIM(' My String ') = 'MyString'
LTRIM(' My String ') = 'MyString '
RTRIM(' My String ') = ' MyString'

Table : customer
CustomerID
Name
Email
CountryCode
Budget
Used
C001
Win Weerachai
win.weerachai@thaicreate.com
TH
1000000
600000
C002
John Smith
john.smith@thaicreate.com
EN
2000000
800000
C003
Jame Born
jame.born@thaicreate.com
US
3000000
600000
C004
Chalee Angel
chalee.angel@thaicreate.com
US
4000000
100000

Sample1 ตัดช่องว่างทั้งด้านซ้ายและด้านขวา
SELECT Trim(Name) AS MyString FROM customer

Output
MyString
Win Weerachai
John Smith
Jame Born
Chalee Angel

  
9.คำสั่ง GRANT และ REVOKE
GRANT ALL PRIVILEGES ON demo TO user1@localhost WITH GRANT OPTION
REVOKE ALL PRIVILEGES ON demo FROM user1@localhost
คำสั่ง GRANT เป็นคำสั่งสำหรับการกำหนดสิทธิ์หรือความสามารถใดๆ ให้กับ user
คำสั่ง REVOKE หรือคำสั่งที่ตรงกันข้ามกับ GRANT คือเป็นการถอนหรือยกเลิกสิทธิ์ใดๆ จาก user
การใช้คำสั่ง GRANT หรือ REVOKE จะอนุญาตเฉพาะผู้บริหารระบบในการกำหนดสิทธิ์ต่างๆ สำหรับผู้ใช้  MySQL จะแบ่งสิทธิ์ (Privilege) เป็น 4 ระดับ คือ
1. Global level
ระดับบนสุด ครอบคลุมทุก database รายละเอียดสำหรับสิทธิ์ของระดับนี้จะถูกเก็บไว้ในตาราง
mysql.user
2. Database level
ระดับ database ครอบคลุมเฉพาะใน database อันใดอันหนึ่ง เช่น ความสามารถในการกระทำใดๆ
ภายใน database นั้นๆ รายละเอียดสำหรับสิทธิ์ของระดับนี้ จะถูกเก็บไว้ในตาราง mysql.db และ mysql.host
3. Table level
ระดับ table ครอบคลุมเฉพาะภายในตารางนั้นๆ เช่น ความสามารถในการกระทำกับ table นั้นๆ
สามารถทำการ select, insert, delete, update ได้หรือไม่ เป็นต้น รายละเอียดสำหรับสิทธิ์ของระดับนี้ จะถูกเก็บอยู่ในตารางmysql.tables_priv
4. Column level
ระดับ column ครอบคลุมเฉพาะฟิลด์ใดฟิลด์หนึ่งภายในตารางข้อมูล รายละเอียดสำหรับสิทธิ์ของระดับนี้ จะถูกเก็บอยู่ในตาราง mysql.columns_priv


10. คำสั่ง CREATE TABLE

  CREATE TABLE phonebook (id INT (4) NOT NULL
  AUTO_INCREMENT, fname VARCHAR (35) , lname VARCHAR (35) ,
  email VARCHAR (50) , office VARCHAR (200) , province CHAR (2) ,
  PRIMARY KEY(id), UNIQUE(id), INDEX(id)) 

                    โดยทั่วไปขนาดของตารางข้อมูลหนึ่งๆ จะมีขนาดไม่เกิน 2G หรือ 4G ขึ้นอยู่กับระบบปฏิบัติการ เราสามารถทำให้ประหยัดเนื้อที่ได้อีกโดยการบีบอัด (PACK) ข้อมูลดัชนี ซึ่งสามารถให้บีบอัดโดยกำหนดค่า PACK_KEYS=1 การบีบอัดนี้จะทำให้การทำงานช้าลง แต่ก็ประหยัดเนื้อที่ขึ้น และตามปกติถ้าผู้ใช้ไม่ได้กำหนดให้บีบอัด ข้อมูลที่เป็นสตริงหรือตัวอักษรก็จะได้รับการบีบอัดข้อมูลอยู่แล้ว สำหรับข้อมูลตัวเลข ค่าการทำงานปกติจะไม่รับการบีบอัด เว้นแต่กำหนดการบีบอัดด้วยการใช้ UNION จะใช้กรณีที่ต้องการรวมตารางข้อมูลหลายๆ ตารางเข้าด้วยกันเป็นอันเดียว ซึ่งจะทำงานกับตารางประเภท MERGE เท่านั้น